แนวทางการเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

Main Article Content

ชัยวัฒน์ สมสุข
ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์
ขวัญธิศศรา อภิสุขสกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 12 คน ได้มาโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนิยามอยู่ระหว่าง 0.60 – 1.00 การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการศึกษาแนวทางการเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียน พบว่า แนวทางการเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ประกอบด้วย 10 ด้าน ได้แก่ กำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน บทบาท และการมอบหมายงาน บรรยากาศการทำงานที่ดี การรับฟัง การมีส่วนร่วม การสื่อสารเปิดเผย ภาวะผู้นำร่วมกัน ความสัมพันธ์ในกลุ่มและนอกกลุ่ม มีรูปแบบการทำงานที่หลากหลาย และการประเมินตนเอง

Downloads

Article Details

How to Cite
สมสุข ช., กันตาธนวัฒน์ ฐ., & อภิสุขสกุล ข. (2025). แนวทางการเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 19(1), 33–52. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/4967
บท
บทความวิจัย

References

กาญจนาภรณ์ พลประทีป. (2558). การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ. วารสารบริหารธุรกิจ เทคโนโลยีมหานครปริทัศน์, 5(1), 1-15.

โชติสุภา สายสนั่น. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทีมงานที่มีประสิทธิภาพของสถานศึกษาประเภท อาชีวศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมเอกชนในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, จันทบุรี.

ณัฐวุฒิ กนกธรรม. (2559). การมีส่วนร่วมของพนักงานในการมอบหมายงานในองค์กร. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, 8(3), 31-45.

ดุสิตา เลาหพันธุ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดตราด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

เบญจมาศ นิลกำแหง. (2564). รูปแบบการพัฒนาทีมงานที่มีประสิทธิภาพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.

พิชชาภา เกาะเต้น. (2563). ผลกระทบของการทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ที่ส่งผลต่อความผูกพัน และประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โตโยต้านครธน จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2564). ผู้บริหารกับการทำงานเป็นทีม. วารสารคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 4(1), 1-7.

เพิ่มสุข อนันต์มั่งคั่ง. (2560). การศึกษาการทำงานเป็นทีมของครูโรงเรียนมารีวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ลำเทียน เผ้าอาจ. (2559). การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเมืองตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

วรรณวิษา ไชยชลาแสง. (2551). การศึกษาภาวะผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อทีมงานที่มีประสิทธิภาพของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1-7 .วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.

ศิริชัย อ้อนอุบล. (2560). การสร้างทีมงานและแนวทางพัฒนาการสร้างทีมงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2562). การบริหารจัดการโรงเรียนแบบมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายฝน แสงเดือน. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

สุนทรี พูลทอง. (2559). การสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการกำหนดวัตถุประสงค์ของงาน. วารสารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, 7(3), 23-36.

สุภางค์ จันทวานิช. (2555). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพรรณ คิอินธิ. (2562). การพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21”. วารสารมหาวิทยาลัย ราชภัฏร้อยเอ็ด. 13(3), 94 – 103.

Aubert, B. A., & Kelsey, B. L. (2003). Further understanding of trust and performance in virtual teams. Small Group Research.

Beyer, J. E., & Marshall, J. (1981). The interpersonal dimension of collegiality. Nursing Outlook, 29(11), 662-665.

Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence: Why It Can Matter More Than IQ. Bantam Books.

John R. Schermerhorn, Jr., James G. Hunt and Richard N. Osbom (2007). Organizational Behavior 10th USA: John Wiley & Sons, Inc.

Kreitner, R., & Kinicki, A. (2008). Organizational behavior (8th ed.). Boston: McGraw-Hill, Inc.

Parker, G. M. (1990). Team players and teamwork: The new competitive business strategy. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Underwood, M. (1989). Teaching listening. London: Longman.

Warr, P. (2002). The psychology of work. Cambridge University Press.

Woodcock, M. (1989). Team development manual (2nd ed.). Worcester, Great Britain: Billing and Sons.