แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3

Main Article Content

เวณิกา ถนอมเพียร
ทรงเดช สอนใจ
ศุภธนกฤษ ยอดสละ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้ความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ควรจะเป็น สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 2) เพื่อพัฒนาแนวทางพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 3) เพื่อประเมินแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูศตวรรษ ที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยประกอบด้วย ผู้อำานวยการสถานศึกษา รองผู้อำานวยการสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ หัวหน้าฝ่าย วิชาการ และครูผู้สอน สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามขนาดโรงเรียนและเทคนิคการสุ่มของ Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ผู้บริหารสถานศึกษา จำานวน 159 คน และ จำานวน 336 คน รวม 495 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสัมภาษณ์ องค์ประกอบสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 แบบสอบถามที่เป็นจริงและสภาพที่ควรจะเป็นของ สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 แบบยกร่างแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ของครู และแบบประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของแนวทางการพัฒนา สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำาเป็น (Modified Priority Needs Index: PNImodified)
ผลการวิจัยปรากฎผลดังนี้
1. องค์ประกอบแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 มี 8 องค์ประกอบและ 60 ประเด็นศึกษา
2. ผลการศึกษาการพัฒนาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียน สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 พบว่า สภาพที่เป็นจริงของสมรรถนะ ของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 พบว่า โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สภาพที่ควรจะเป็นของแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ความต้องการจำาเป็นในการพัฒนาแนวทางสมรรถนะของครู ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ความต้องการ จำาเป็นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการพัฒนาสมรรถนะด้านการพัฒนาหลักสูตร
3. ประเมินแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 พบว่า องค์ประกอบสมรรถนะของครูในศตวรรษ ที่ 21 มี 8 องค์ประกอบหลักและ 40 ประเด็นศึกษา 55 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ถนอมเพียร เ., สอนใจ ท., & ยอดสละ ศ. (2022). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(3), 201–211. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/288
บท
บทความวิจัย

References

แนวทางการพัฒนา สมรรถนะของครูในศตวรรษที่ 21

Developing Guideline, teacher competency in the 21st century

จริยาภรณ์ ตู้คามูล. (2563). การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ฐิติภูมิ สุวรรณไตรย์. (2564). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชัยวุฒิ เทโพธิ์. (2563). แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ ดษ. (รัฐประศาสนศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

นาถชนก ภูมั่ง. (2563). การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

น้าฝน ชื่นชม. (2560). การพัฒนาแนวทางเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิจารณ์ พาณิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: แผนพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

วีระชัย ศรีวงษ์รัตน์. (2559). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศิริประภา หลงพิมาย. (2560). การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3. (2563). รายงานผลการดำาเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กลุ่มนโยบายและแผน. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู. กรุงเทพฯ:

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). จรรยาบรรณวิชาชีพครู พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2562). ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง รายละเอียดของมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครูตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.