ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทย

Main Article Content

ณัชชา มหปุญญานนท์

บทคัดย่อ

การศึกษามักจะถูกมองว่าเป็นกลไกหลักที่สำคัญของการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ทฤษฎีทุนมนุษย์ตั้งอยู่บนแนวคิดนี้และถูกกล่าวถึงอย่างมากมายในการศึกษาตลอดช่วงครึ่งศตวรรษที่    ผ่านมา การได้รับความเสมอภาคในด้านคุณภาพ โอกาส และผลลัพธ์ด้านการศึกษาเป็นเป้าหมายของรัฐบาลในระดับประเทศ และความสำเร็จในการปฏิรูปการศึกษานั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายที่ดีอย่างเดียว แต่ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ อีกหลายประการ ดังนั้นประเด็นที่ผู้มีหน้าที่ในการกำหนดนโยบายทางการการศึกษาควรให้ความสำคัญในปัจจุบัน อาจไม่ใช่การตอบคำถามที่ว่า “จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้อย่างไร” แต่ควรให้ความสำคัญกับคำถาม “เราจะจัดการกับความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษาได้อย่างไร” ซึ่งความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษานั้นมีสาเหตุของปัจจัยที่เกิดภาวะความยากจน ทัศนคติเชิงลบของผู้ปกครองต่อการศึกษา การขาดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการศึกษาของเด็ก การขาดเงินทุนสนับสนุนตามที่ควรจะเป็น อุปสรรคเรื่องหลักสูตร และระดับของความรู้ของคนในชุมชนที่ด้อยโอกาส นอกเหนือไปจากปัญหาและอุปสรรคที่ระบุไว้ข้างต้นแล้ว เรื่องของการมีแรงบันดาลใจของนักเรียนที่มีต่ำ การมีปณิธานของนักเรียนก็เป็นประเด็นที่น่าสนใจ ในบทความนี้ ผู้เขียนได้นำเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อใช้สำหรับเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทย ซึ่งควรมีการคำนึงถึงปัจจัยแวดล้อมในมิติ        อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น มิติทางสังคม มิติทางเศรษฐกิจ มิติทางการเมืองการปกครอง และมิติทางด้านการศึกษา ที่ควรได้รับการแก้ปัญหาและมีการพัฒนาอย่างบูรณาการเพื่อที่จะเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทยต่อไป


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2563). 5 นวัตกรรม ที่จะมาทำให้ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาหายไป ภายใต้แนวคิด All for Education. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2565, https://www.eef.or.th/knowledge-19-10-20/

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2560). เจาะลึกบัญชีรายจ่ายด้านการศึกษาไทยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2565, https://www.eef.or.th/wp-content/uploads/2018/10/PB_EEF-1.pdf

คณะทำงานเตรียมการปฏิรูปเพื่อคืนความสุขแก่คนในชาติ. (2557) กรอบความเห็นร่วมปฏิรูปประเทศไทย ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม.

จาตุรนต์ วรรณนวล. (2563). กฎหมายและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของคนพิการในสังคมไทย มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563)

ณปภัช บรรณาการ. (2562). ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร.

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2551). การคลังเพื่อการศึกษาสินเชื่อการศึกษาเพื่อพัฒนาทุนมนุษย์และลดความเหลื่อมล้ำ. วารสารเศรษฐศาสตร์ศรีนครินทรวิโรฒ, สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2565, https://edocument.swu.ac.th/general/4800/pdf/11548000629.pdf

เปรื่อง กิจรัตน์ภร. (2555) “ยกเครื่องการศึกษาไทยเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ” 23 กุมภาพันธ์ 2555 ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2565, www.rajabhatnetwork.com

ภัทรมนัส ศรีตระกูล (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) ของประเทศไทย. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม. 5(2), 213-227

วิทยากร เชียงกูล. (2557). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). Pisa Thailand ผลการประเมิน PISA 2018 นักเรียนไทยวัย 15 ปี รู้และทำอะไรได้บ้าง. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2565, https://pisathailand.ipst.ac.th/ issue-2019-48/#

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ :

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สิวะโชติ ศรีสุทธิยากร. (2562). ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและปัจจัยที่ส่งผล: การวิเคราะห์พหุระดับร่วมกับดัชนีเอ็นโทรปีนัยทั่วไปที่อิงมัธยฐาน. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย. 32(3) (กันยายน-ธันวาคม 2562)

อัญญรัตน์ นาเมือง. (2553). การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย (Educational Reform in Thailand). Princess of Naradhiwas University Journal. 2(2) (พฤษภาคม – สิงหาคม) 112-121.

อิทธิพล พลเหี้ยมหาญ. (2562). โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ปัญหาใหญ่ของการศึกษาไทย. Phimoldhamma Research Institute Journal. 6(2) (July - December 2019)

Baker, D. P., & Holsinger, D. B. (1996). Human capital formation and school expansion in Asia: Does a unique regional model exist? International Journal of Comparative Sociology, 37(1-2), 159-173. https://doi.org/ 10.1177/002071529603700109

Becker, G. S. (1995). Human Capital and Poverty Alleviation. World Bank Document. Retrieved 3 July 2022, https://documents1.worldbank.org/curated/en/ 121791468764735830/pdf/multi0page.pdf

Berne, R., & Stiefel, L. (1994). Measuring Equity at the School Level: The Finance Perspective. Educational Evaluation and Policy Analysis, 16(4), 405–421. https://doi.org/10.2307/1164366

Bourdieu, P. & Passeron, J. C. (1977). Reproduction in Education, Society and Culture. London, Sage.

Bradford, L. (2015). Human Capital. Investing in Oneself and One's Family. Retrieved 3 July 2022, http://slideplayer.com/slide/6101332/

Demie, F. (2018). English as an additional language and attainment in primary schools in England. Journal of Multilingual and Multicultural Development, 39 (3), 210-223.

Demie, F. (2019). Educational attainment of East European pupils in primary schools in England: Implications for policy and practice. London Review of Education, 17 (2): 159-177.

Demie, F. and Lewis, K. (2010a). White Working Class Achievement: A study of Barriers to learning in schools, London of Borough of Lambeth, January.

Demie, F. and Lewis, K. (2010b). Outstanding Secondary Schools: Good Practice, Lambeth Research and Statistics Unit, Lambeth LA.

Demie, F. and Mclean, C. (2014). Outstanding Primary Schools: Good Practice, Lambeth Research and Statistics Unit, Lambeth LA.

Diener, Carol I. & Dweck, Carol S. (1978): An Analysis of Learned Helplessness: Continuous Changes in Performance, Strategy, and Achievement Cognitions Following Failures. Journal of Personality and Social Psychology, 36(5), 451-462.

Harber, C. (2002): Education, Democracy and Poverty Reduction in Africa. Comparative Education, 38(3), 267-276.

Holsinger, D.B. and Jacob, W.J. (2009) (eds.), Inequality in Education: A Critical Analysis. In book: Inequality in Education: Comparative and International Perspectives, D.B. Holsinger and W.J. Jacob (eds.), Springer.

ISSC, IDS and UNESCO (2016), World Social Science Report 2016, Challenging Inequalities: Pathways to a Just World, UNESCO Publishing, Paris.

Little, A. W. (2003). Motivating Learning and the Development of Human Capital. Compare. A Journal of Comparative and International Education, 33(4), 437-452. doi:10.1080/0305792032000127748

Mongon, D & Chapman, C, (2008). Leadership for closing the gap and reducing variation in outcomes: developing a framework for action., Nottingham, National College for School Leadership

Münich, D., Plug, E., Psacharopoulos, G., & Schlotter, M. (2012). Equity in and through education and training: Indicators and priorities. Retrieved 3 July 2022, www.eenee.de/dms/EENEE/Ana lytical_Reports/EENEE_AR12.pdf

Ofsted. (2009). English at the crossroads: An evaluation of English in primary and secondary schools, 2005/08. London: Ofsted.

Rea, S, Hill, R & Sandals, L,. (2011). System leadership: does school-to-school support close the gap?, Nottingham, National College for School Leadership

Sales, R., Ryan, L., Lopez Rodriguez, M. and D'Angelo, A. (2008) Polish Pupils in London Schools: Opportunities and challenges. London: Multiverse and Middlesex University.

Schultz, T. W. (1961). Investment in Human Capital. The American Economic Review, 51.

Sharples, J., Slavin, R., Chambers, B. and Sharp, C. (2011). ‘Effective classroom strategies for closing the gap in educational achievement for children and young people living in poverty, including white working-class boys’, Centre for Excellence and Outcomes in Children and Young People’s Services, Retrieved 16 October 2022, www.c4eo.org.uk

Stiglitz, J. (1975). The Theory of "Screening," Education, and the Distribution of Income. American Economic Review, 65(3), 283-300.

Strand, S., Malmberg, L. and Hall, J. (2015) English as an Additional Language (EAL) and Educational Achievement in England: An analysis of the National Pupil Database. London: Education Endowment Foundation. Retrieved 3 July 2022, http://tinyurl.com/yyyffkhc

Tereshchenko, A. and Archer, L. (2014) New Migration, New Challenges: Eastern European migrant pupils in English schools. London: King's College London.

Thomas V., Wang Y., and Fan X. (2001) “Measuring Education Inequality.” World Bank Working Paper, World Bank: Washington, D.C.

UNESCO. (2014). Sustainable Development Begins with Education: How Education Can Contribute to the Proposed Post-2015 Goals, Global Education Monitoring Report. Paris, UNESCO.

United Nation. (2015). Transforming our world: the 2030 Agenda for Sustainable Development. Retrieved 22 November, https://sdgs.un.org/2030agenda.

Woessmann, L. and Schütz, G. (2006) Efficiency and Equity in European Education and Training Systems, EENEE Analytical Report No. 1, Prepared for the European Commission. Retrieved 22 November 2022, [online] https://wwwfile:///C:/Users/HP% 20ProBook/ Downloads/ EENEE_AR1%20(2).pdf.