การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการ ื่อสารทางวิทยาศาสตร์และการร่วมมือ เรื่อง สิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

ผดากุล นันทชมภู
สิรินภา กิจเกื้อกูล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ และ 2) พัฒนาทักษะการ สื่อสารทางวิทยาศาสตร์และการร่วมมือ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องสิ่งมีชีวิต ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งมีรูปแบบการจัดการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 6 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 กำาหนดปัญหา ขั้นที่ 2 ทำาความเข้าใจกับปัญหา ขั้นที่ 3 ดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ ความรู้ ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำาตอบ และขั้นที่ 6 นำาเสนอและประเมินผลงาน ผู้มีส่วนร่วมใน การวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสุโขทัย จำานวน 12 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบ สะท้อนการจัดการเรียนรู้ และแบบประเมินทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์และการร่วมมือ และใช้การ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาร่วมกับตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ควรเลือกใช้สถานการณ์ปัญหาในชีวิตประจำาวันที่ใกล้ตัว นักเรียน และควรมีการยกตัวอย่างเพื่อเชื่อมโยงและสอดคล้องกับประสบการณ์ของผู้เรียน และ 2) ทักษะ การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์และการร่วมมือ มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นในทุกๆ วงจรปฏิบัติการ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
นันทชมภู ผ. ., & กิจเกื้อกูล ส. . (2024). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการ ื่อสารทางวิทยาศาสตร์และการร่วมมือ เรื่อง สิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(1), 136–149. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/1445
บท
บทความวิจัย

References

เจษฎายุทธ ไกรกลาง. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปัญหาเป็นฐานต่อการส่งเสริมผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม.

ณชานันท์ ประเสริฐสุข. (2559). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก.

พจงจิตร นาบุญมี. (2559). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหา แบบร่วมมือ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก. มังกร ทองสุขดี. (2557). การสอนวิทยาศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สาริญา และสุม. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีววิทยา ทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ: การ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำากัด.

สุวิชา ศรีมงคล. (2557). การส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21: ทักษะการสื่อสารและความ ร่วมมือในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ด้วยสถานการณ์จำาลอง. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.

อิทธิศักด์ิ ศิริจันทร์. (2562). ทักษะการสื่อสารของผู ้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 13(1), 139. Kemmis, S &

McTaggart, R. (1988). The action research planner. (3rd ed.). Victoria: Deakin University.

Knowles, S. M. (1975). Self-directed learning: A guide for learners and teachers. New York: Follett. The Partnership for 21st Century Skills. (2007). Framework definition. Retrieved July 28, 2020, from http://www.p21.org/documents/P21-Framework-Definitions.pdf