ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านตนเอง ด้านครอบครัว ด้านสถาบันอุดมศึกษา และด้านสังคม กับความสุขของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสุขของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านตนเอง ด้านครอบครัว ด้านสถาบันอุดมศึกษา และด้านสังคม กับความสุขของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับอุดมศึกษา ชั้นปีที่ 1 ภาคปลาย ปีการศึกษา 2562 จำนวน 400 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi– Stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย แบบสอบถามปัจจัยความสุขของนักศึกษา และแบบวัดความสุขของนักศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสุขของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา อยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.01, SD = 0.48) 2) ปัจจัยด้านตนเอง ด้านครอบครัว ด้านสถาบันอุดมศึกษา และด้านสังคม มีสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความสุขของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .572) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ปัจจัยที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มากที่สุด คือ ด้านสังคม (r = .513) รองลงมา คือ ด้านสถาบันอุดมศึกษา (r = .454) ด้านตนเอง (r = .443) และด้านครอบครัว (r = .287) ตามลำดับ
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กาญจนา วันนา, นุจรี ไชยมงคล, และพิชามญชุ์ ปุณโณทก. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขของนักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยเอกชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 18(34), 97-108.
จิราภรณ์ สรรพวีรวงศ์, ภัทรกันย์ ติเอียดย่อ, จันทนี ปลูกไม้ดี, ศรัญญา ทิ้งสุข, สุพรรษา สุดสวาท, และ กนกพร สงปราบ. (2559). ความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สงขลานครินทร์เวชสาร. 34(5), 269-279.
จีรทัช ใจจริง, ธนิต โตอดิเทพย์, ภารดี อนันต์นาวี, และ เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(1), 29-47.
จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และ วิทยา เหมพันธ์. (2556). ความเครียดของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 1(1), มกราคม-มิถุนายน, 42-58.
ณนิตา พิศเพลิน และ ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของนักศึกษาในการใช้ชีวิตในหอพักนักศึกษา : กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งหนึ่ง เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 8(1), มกราคม – มิถุนายน, 25-37.
ณภัทรารัตน์ ขาวสอาด, มณี อาภานันทิกุล, และพรรณวดี พุธวัฒนะ. (2556). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของนักศึกษาพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล, 28(1), 19-33.
ประณต เค้าฉิม. (2549). จิตวิทยาวัยรุ่น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ไพรัช วงศ์ศรีตระกูล. (2554). ปัจจัยทางการศึกษาที่มีผลต่อความเครียดและความวิตกกังวลของนักศึกษามหาวิทยาลัยธนบุรี. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัย มสธ. วิจัย ประจำปี 2554. 124-135.
เรวดี เพชรศิราสัณห์, ศิริอร สินธุ, สายฝน เอกวรางกูร, อุไร จเรประพาฬ, และ เจนเนตร พลเพชร. (2550). ความสุขและวิถีการสร้างเสริมสุขภาพ: ความต้องการที่แตกต่างระหว่างคนสามวัยในครอบครัวไทย. วารสารพยาบาล, 56(1-2), 23-31.
ยุพา วงศ์รสไตร และ วราภรณ์ ดีน้ำจืด. (2563). ความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 13(1), 43-57.
วินิตา แก้วเกื้อ. (2554). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุความสุขของนักเรียน : การวิเคราะห์กลุ่มพหุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. (2544). การเรียนรู้อย่างมีความสุข : สารเคมีในสมองกับความสุขและการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการช่วงวัยรุ่น – วัยทำงาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, เฉลิมพล แจ่มจันทร์, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, และ จรัมพร โห้ลำยอง. (2555). คุณภาพชีวิต การทำงาน และความสุข. กรุงเทพฯ : ธรรมดาเพรส จำกัด.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). [ออนไลน์]. Retrieved from https://www.nesdb.go.th.
สุภาณี สุขะนาคินทร์. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของประชาชน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
Adler, G. & Fagley, S. (2005). Individual Differences in Finding Value and Meaning as a Unique Predictor of Subjective Well-Being. Journal of Personality, 73(1), 79–114.
Ai – choo, O., & Gary, D. B. (2006). Teaching strategies that promote thinking model and curriculum Approaches. Singapore: Mcgraw- hill education (Asia).
Andrews, F. M., & Whithey., S. B. (1978). Applied and Community Psychology: Trends and Direction [Online]. Retrieved from https://books.google.co.th.
Collaborative for Academic, Social, and Emotional Learning: CASEL. (2010). Effective social and emotional learning programs: Preschool and elementary school edition. KSA-Plus Communications. [Online]. Retrived from: Retrived from: https://casel.org.
Clark, C. K. (2005). Percentile (Vol. 3). West Sussex: John Wiley.
Diener, E. (Ed.) (2000). Subjective well-being: The science of happiness and life satisfaction. New York: Oxford University.
Diener, E., Oishi, S., & Tay, L. (2018). Advances in Subjective Well-Being Research.
Nature Human Behavior, 2, 253-260.
Gerdes, H., & Mallinckrodt, B. (1994). Emotional, social, and academic adjustment of college students: A longitudinal study of retention. Journal of Counseling & Development, 72(3), 281-288.
Holder, M. D., & Coleman, B. (2008). The Contribution of Temperament, Popularity, and Physical Appearance to Children’s Happiness. Journal of Happiness Studies, 9, 279-302.
Layard, R. (2005). Happiness: Lessions from a New Science. Counselling and Psychotherapy Research, 6, 302-303.
Lyubomirsky, S., Kasri, F., & Zehm, K., & Dickerhoof, R. (2005). The cognitive and hedonic costs of excessive self-reflection. Manuscript submitted for publication.
Magaletta, P., & Oliver, J. (1999). The hope construct, will, and ways: Their relations with self-efficacy, optimism, and general well-being. Journal of clinical psychology, 55, 539-551.
Manion, J. (2003). Joy at Work: Creating a Positive Workplace. Journal of Nursing Administration, 33, 652-655.
Mark, D. H. & Ben, C. (2007). The Contribution of Social Relationships to Children’s Happiness. Springer Science and Business Media B.V., 10, 1-21.
Piers, E. V., & S., H. D. (2002). Piers-Harris Children’s Self-Concept Scale. Retrieved from http://portal.wpspublish.com/pdf.
Prescott, D. M. (2001). America's lost dream: life, liberty and the pursuit of happiness. Paper presented at the Tenth International Congress Association for Prenatal and Perinatal Psychology and Health, San Francisco CA.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.
Roy, S. C. (1999). The Roy adaptation model: The definitive statement. Norwalk, CT: Appleton & Lange.
Ryff, C. D. (1995). The structure of psychological well-beingrevisited. Journal of Personality and Social Psychology, 69(4), 719–727.
Seligman, M. E. P. (2011). Flourish: A visionary new understanding of happiness and well-being. New York: Free Press.
Shen, K. (1993). Happy Chemical Education (HCE) [Online]. Retrived from: https://www. medline.lib.buu.ac.th2T/H.W.Wilson/detail.nsp.
Veenhoven, R. (1996). Happy Life-Expectancy: A Comprehensive Measure of Quality-of-life in Nations. Social Indicators Research, 39, 1-58.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Edition, Harper and Row, New York.