การจัดกิจกรรมดนตรีและจังหวะตามแนวคิดคาร์ล ออร์ฟ เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร

Main Article Content

ณัฐยา เกตุสิริ

บทคัดย่อ

ช่วงปฐมวัย ถือเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างรากฐานที่แข็งแรงสำหรับ การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ในอนาคต การต่อยอดพัฒนาการและทักษะด้านต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในอนาคตต่อไปทักษะการคิดเชิงบริหาร เป็นการทำงานของสมองส่วนหน้าที่จำเป็นต่อการควบคุมความคิด อารมณ์ การกระทำ และการกำหนดพฤติกรรมมุ่งสู่เป้าหมายเพื่อความสำเร็จของงานที่ได้วางแผนไว้ ซึ่งกิจกรรมดนตรีและจังหวะตามแนวคิดคาร์ล ออร์ฟ ถือเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัยด้วยเช่นกันบทความวิชาการชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับความหมายและองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงบริหาร กิจกรรมดนตรีและจังหวะตามแนวคิดคาร์ล ออร์ฟ กับการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร รวมไปถึงตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กทารกอายุ 6 เดือนจนถึงอายุ 5 ขวบ ที่ครูปฐมวัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารนี้ได้ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560.กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

จันทน์กฤษณา ผลวิวัฒน์. (2547). การวิเคราะห์แนวคิดและรูปแบบการจัดการศึกษา โดยครอบครัวในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.

ดนีญา อุทัยสุข. (2560). การสอนดนตรีด้วยการเคลื่อนไหวแบบดาลโคราช. เอกสารประกอบการอบรม วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ห้องประชุมกรมหมื่นพิฆเนศวรฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

ธนกร ศรีวิจิตร (2560). 6 กิจกรรมของเด็กปฐมวัย. วันที่สืบค้นข้อมูล 12 สิงหาคม 2563. จาก http://childhood6major.blogspot.com/2013/12/

นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2561). สารานุกรมศึกษาศาสตร์ “Executive Function (การคิดเชิงบริหาร)”. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุบผา เรืองรอง. (2550). การให้การศึกษาและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

พรพิมล เวสสวัสดิ์. (2557). ผลของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้แนวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล. วิทยานิพนธ์ครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพเราะ พุ่มมั่น. (2544). การพัฒนาคุณภาพนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาสู่ผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: แว่นแก้ว.

สุภาวดี หาญเมธี. (2558). EF ภูมิคุ้มกันชีวิตและป้องกันยาเสพติด: คู่มือสำหรับครูอนุบาล. กรุงเทพฯ: รักลูกกรุ๊ป.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 / สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ครั้งที่ 1.

อัญชลี ไสยวรรณ และวรดี เลิศไกร. (2562). ดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กปฐมวัย เอกสารประกอบการอบรม วันที่ 14 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารบูรณาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จัดโดย บริษัท คลังวิชาการศึกษาปฐมวัย จำกัด.

อัญชลี ไสยวรรณ .(2563). สุดยอดดนตรี เสริมสร้างจินตนาการสู่เด็กปฐมวัย เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา เรื่อง สุดยอดดนตรี เสริมสร้างจินตนาการสู่เด็กปฐมวัย วันที่ 13 มกราคม 2563 ณ อาคาร 2 ชั้น 1 ห้อง s2103 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

Diamonds, A. (2013). Executive functions. [Online]. Availablefrom:http://www.devcogneuro.com/Publications/ExecutiveFunctions 2013.pdf. [14 April 2018]

Edward, S., & Guy, J. (2010). Knowledge management in education. New York: Harper & Row, 56-72.

Lunz, Mary E.; Wright, Benjamin D.; & Linacre, John M. (1990). Measuring the Impact of Judge Severity on Examination Score. Applied Measurement in Education. 3(4): 331-345. Retrieved May 14, 2008, from www. Rasch.org/memo47.htm

Preda Uliță, A. (2016). Improving children’s executive functions by learning to play a musical instrument. Bulletin of the Transilvania University of Brasov Series VIII. 9(58), No.2 ,85-90.