ความเป็นพลเมืองกับสื่อสังคมออนไลน์

Main Article Content

ชลดา แสงทา

บทคัดย่อ

การเมืองในโลกออนไลน์เปรียบได้ว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญ ในการเชื่อมต่อข้อมูลจากฝ่ายการเมืองสู่ผู้รับสารเป้าหมายการประชาสัมพันธ์ทางการเมืองนั้น สามารถที่จะกระทำได้ในหลายช่องทาง รวมทั้งสื่อออนไลน์การประชาสัมพันธ์ทางการเมืองได้ใช้ช่องทางสื่อออนไลน์เป็นจำนวนมาก นอกจากสื่อออนไลน์แล้ว ในปัจจุบันนี้สื่อสังคมออนไลน์ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่กำลังได้รับความนิยมจากผู้คนในประเทศเป็นจำนวนมาก ดังนั้นจึงเห็นได้ชัดเจนว่ามีผู้คนสนใจการเมืองเพิ่มมากขึ้นเพราะสื่อทางออนไลน์เนื่องจากการดูการเมืองผ่านทางออนไลน์มีความสะดวกสบายหาดูได้ง่ายเพียงแค่มีเครื่องมือสื่อสารออนไลน์เท่านั้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จันจิรา สมบัติพูนศิริ.(jan 7, 2019). ‘Digital Politics’ การเมืองใหม่ในโลกดิจิทัล กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ.สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563,จาก https://www.the101.world/one-on-one-ep-37/

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล.(Aug 20, 2020). WhatsHappeninginThailand: เมื่อการเมืองออนไลน์ลงสู่ท้องถนน.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563,จาก https://www.the101.world/surachanee-sriyai-interview/

ถวิลวดี บุรีกุล.(2554).ความเป็นพลเมืองในประเทศไทย.สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 256,จาก http://www.kpi.ac.th/media_kpiacth/pdf/M10_452.pdf

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2556). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2563, จาก http://libdoc.dpu.ac.th/research/147397.pdf

นันทวิช เหล่าวิชยา.สื่อสังคมออนไลน์กับการสื่อสารการเมืองไทย.สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563,จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_12/pdf/aw015.pdf

พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563,จาก https://sites.google.com/site/hnathiphlmeuxng008/phlmeuxng-di-khxng-prathes-chati-laea-sangkhm-lok

ยุทธพร อิสรชัย.(2547).อินเตอร์เน็ตกับการเมืองไทย.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563,จากhttp://wiki.kpi.ac.th/index.php?title

วิศาล ศรีมหาวโร.(5 เมษายน 2562).ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย : กรณีศึกษาเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563,จาก file:///C:/Users/ACER/Downloads/241856-Article%20Text-832921-1-10-20200428.pdf

หน่วยที่ 9 การเมืองยุคดิจิทัล (Digital Politics). สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก www.stou.ac.th/Schoolnew/polsci/UploadedFile/หน่วยที่%209.pdf

อัจฉรา อยุทธศิริกุล.(2561). การศึกษาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษา.สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2563,จาก http://ithesisir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2280/1/57262319.pdf

แสงเดือน ผ่องพุฒ.(ตุลาคม 2556).สื่อสังคมออนไลน์แนวทางการนำมาประยุกต์ใช้(Social media : How to application).สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2563,จาก http://digitalasia.co.th/wp-content/uploads/2016/12/6685991_0004.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.การศึกษาความเป็นพลเมืองของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2563,จาก http://bps.sueksa.go.th/wp-content/uploads

Narongyod Mahittivanicha.( February 1, 2020 ).สถิติและพฤติกรรมผู้ใช้งาน Internet Q1 ปี 2020 ทั่วโลก (รวมประเทศไทย).สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563,จาก https://www.twfdigital.com/blog/2020/02/global-digital-usage-stat-q1-2020/