ความตื่นตัวทางการเมืองของคนรุ่นใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้ ผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดความตื่นตัวทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ โดยผู้ศึกษาได้ศึกษาถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบันว่า มีการตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้นในกลุ่มของเยาวชนและคนรุ่นใหม่ทั่วประเทศ อีกทั้งในปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆได้รับการพัฒนาอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้สื่อออนไลน์ที่เป็นแหล่งข่าวสารที่สะดวกและรวดเร็ว ซึ่งจะเห็นได้ว่าการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้นกว่าในสมัยก่อน ทำให้ประชาชนคนรุ่นใหม่ได้เข้าไปมีส่วนทางการเมืองได้ง่ายขึ้น รวมไปถึงประชาชนมีสิทธิเสรีในการใช้สื่อออนไลน์ต่างๆในการเคลื่อนไหวและแสดงความคิดเห็นทางการเมืองอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อเรียกร้องสิทธิของตนในฐานะประชาชนทีอยู่ในประเทศที่ปกครองแบบประชาธิปไตย ความเสมอภาคทางกฎหมาย และความเสมอภาคทางการเมือง เป็นต้น
Article Details
References
กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์. (2563). การตื่นตัวทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ในประเทศไทย. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1. (92-103)
นายวัฒนา เซงไพเราะ. (2555). ความตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในสถาบันการศึกษาในเขต
กรุงเทพมหานครกับการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยช่วงปี พ.ศ. 2549-2554. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
ชัยกฤต รัตนากร. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตื่นตัวทางการเมืองของนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอารุงและโรงเรียนชลกันยานุกูล ในการเมืองแบบประชาธิปไตย. งานนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์, นพพล อัคฮาด. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการตื่นตัวทางการเมืองกับความรู้สึกมีสมรรถนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล.
สมปอง รักษาธรรม. (2552). ความตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้กับการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย ชวงปี พ.ศ. 2549-2552 : ศึกษากรณีเปรียบเทียบนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 5 จังหวัดภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
นพ.วิชัย เทียนถาวร. (24 กุมภาพันธ์ 2562). คนรุ่นใหม่’กับ‘พัฒนาการเมือง. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563. จาก https://www.matichon.co.th/article/news_1375571. วารสารการบริหารปกครอง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1. (26-39)
นัฐพงษ์ ป้องแสง. (10 มีนาคม 2563). คนรุ่นใหม่กับประชาธิปไตยที่แท้จริง. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563. จาก https://isaanrecord.com/2020/03/10/the-democracy-for-new-generations/.
พสิษฐ์ ไชยวัฒน์. (11 ตุลาคม 2561). บทบาทคนรุ่นใหม่กับประชาธิปไตยช่วงเปลี่ยนผ่าน – ความหวังหรือความฝัน. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563. จาก https://prachatai.com/journal/2018/10/79100.
วิทยากร เชียงกูล. (13 กุมภาพันธ์ 2562). พลังของคนรุ่นใหม่. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563. จาก https://www.rsu.ac.th/soc/forum05.html.