แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลขวาว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลขวาว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ด้านความสำเร็จในงาน การได้รับการยอมรับนับถือ ลักษณะของงานที่ทำ ความรับผิดชอบต่องาน ความก้าวหน้าในอาชีพ นโยบายและการบริหารงาน ความสัมพันธ์กับผู้บริหาร สภาพการทำงาน วิถีชีวิตส่วนตัว และความมั่งคงใน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 163 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ รองผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 คน สถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 จำนวน9 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 จำนวน 26 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 จำนวน 37 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 จำนวน 60 คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 จำนวน 26 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตารางของเครจชีและมอร์แกน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบระดับประมาณค่า
ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.60 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .746 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ค่าทีการทดสอบค่าเอฟ
ผลการศึกพบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรฝ่ายส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมศูนย์ของพัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลขวาว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า แรงจูงใจใน การปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์กับผู้บริหาร อยู่ในระดับ มาก รองลงมาคือ นโยบายและการบริหารงาน และน้อยที่สุด ความมั่นคงในงาน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กัลยาณี สิทธิไพศาล. (2552). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกระบี่. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร.
กาญจนา ตรีรัตน์. (2554). ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรส่ายสนับสนุน
มหาวิทยาลยราชภัฎรำไพพรรณี. (วิทยานิพน์ปริญยาจัดการมหาบัณฑิต). มหาลัยวิทยาบูรพา.
โกมล บัวพรหม. (2553). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 3. (ภาคนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี.
จารุวรรณ ใจเพียร. (2551). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 2 . (ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี.
จิตติมา วัดตูน. (2554). เหตุจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสายสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
ชาญวุฒิ บุญชม. (2553). ความสัมพันธ์ต่อองค์การศึกษาเฉพาะกรณีบุคลากรโรงเรียนอิสลามสันติชน. (ภาคนิพนธ์ ศศ.ม. (พัฒนาสังคม)). บัณฑิตวิทยาลัยสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
เดี่ยว จารุวุฒิพันธ์. (2556). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหนองหัววัว อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร. วิทยาลัยทองสุข.
ตะวัน กำหอม. (2558). การวิจัยทางการศึกษา. วิทยาลัยทองสุข.
ทวีศักดิ์ รองแขวง. (2555). อิทธิพลของคุณลักษณะงานต่อแรงจูงใจในการทำงาน กรณีศึกษา : สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
นิตา โครตรศรีเมือง. (2546). ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรสนับสนุนสังกัดสำนักงานอธิบดีมหาลัยบูรพา. (งานนิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
นุชรา เพิ่มพูล. (2550). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนวัดลาดสนุ่น จังหวัดปทุมธานี. (ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์.
ผาสุด จิตราวาร. (2548). แรงจูงใจการทำงานของข้าราชการครู โรงเรียนชลกันยานุกุล. (สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
พรศิลป์ ศรีเรืองไร. (2553). การศึกษาปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
พิชชาภัสส์ ธนัชญ์จุฑานนท์. (2556). การสร้างแบบวัดขวัญกำลังใจการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (ปริญญานิพนธ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิมพ์พิชชา ศรีเอื่ยม. (2556). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนศาลาตึกวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. (สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). วิทยาลัยทองสุข.
มาโนช โลหเตปานนท์. (2554). ภาวะผู้นำ แรงจูงใจ. (วารสารบัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏพอบูลสงคราม.
เย็นตะวัน แสงวิเศษ. (2556). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี.
วรรณภา เสนา. (2554). การศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานสายการผลิตบริษัทบิวตี้เจมส์ แฟคตอรี่จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิยาลัยรามคำแหง.
วัฒนา โถสุวรรณ. (2546). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
วิมล จำปาทอง. (2556). แรงจูงใจการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดเทศบาลตำบลเมือง อำเภอเมืองสมุทรปาการ จังหวัดสมุทรปราการ. (สารนิพนธ์ศึกษศาสตรมหาบัณฑิต). วิทยาลัยทองสุข.
ศิริพร จันทศรี. (2550). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ที่มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนแตกต่างกัน.(ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมเกียรติ ศรีเมือง. (2554). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. (วิทยานพินธ์มาหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
โสภา แก้วเนย. (2554). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนฝั่งธนสามัคคี อำเภอกงไกรลาส จังหวัดสุโขทัย. (สารนิพนธ์รัฐประศาสตรมหาบัณฑิต). วิทยาลัยทองสุข.
อภิชัย จันทร์เทศ. (2548). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนจินดาบำรุง เขตคันนายาวกรุงเทพมหานคร . (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร.