รูปแบบการสอนสังคมศึกษาในยุค Next Normal

Main Article Content

เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสอนสังคมศึกษาในยุค Next Normal พบว่า หลังวิกฤติการณ์โลก กรณีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สถาบันการศึกษาต้องเตรียมปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ เพราะเมื่อ มีการระบาดของโรคเกิดขึ้น มักจะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตหลังจากนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้ผู้เรียน ไม่ได้ไปโรงเรียน เมื่อผู้เรียนเรียนรู้อยู่ที่บ้าน ครูควรใช้ความตระหนักรู้ที่เกิดขึ้น มาออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้ตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียน และตอบโจทย์รูปแบบการศึกษาในยุค Next Normal ได้แก่ การเรียนในห้องเรียน รูปแบบการสอนแบบผสมผสาน รูปแบบการสอนแบบใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ทั้งนี้ ครูผู้ซึ่งถือได้ว่ามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาในยุค Next Normal จะต้องเตรียมตนเองให้มีความพร้อมในด้านองค์ความรู้และการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ซึ่งในยุค Next Normal นั้น การออกแบบการจัดการเรียนรู้ควรมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิตและสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันได้ สร้างผู้เรียนให้เป็นนวัตกร ที่มีองค์ความรู้อย่างลึกซึ้ง ฝังแน่นและคงทน กล่าวคือ เป็นผู้รู้จริง รู้ชัด นำไปประยุกต์ใช้สร้างนวัตกรรมแห่งอนาคตได้

Article Details

How to Cite
จงเกษกรณ์ เ. . (2025). รูปแบบการสอนสังคมศึกษาในยุค Next Normal. วารสารวิจัยและวิชาการบวรพัฒน์, 3(2), A1180. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/rabij/article/view/1180
บท
บทความวิชาการ

References

จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2562). การพัฒนานวัตกรรมโมบายแอพลิเคชันสำหรับการเรียนรู้ในบริบทเสมือน เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรียนอุดมศึกษาในศตวรรษที่ 21. (รายงานการวิจัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม.

เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์. (2565). การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสำหรับห้องเรียนแบบไฮบริด. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาลัยสงฆ์แพร่” ครั้งที่ 2. (น. 539-553). แพร่ : วิทยาลัยสงฆ์แพร่.

เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถึใหม่ (Design- Based New Normal): ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. คุรุสภาวิทยาจารย์, 1(2), 1-10.

มูลนิธิคีนันแห่งเอเชีย. (2565). ผลกระทบจากโควิด 19 ด้านการศึกษา. เข้าถึงได้จาก https://www.kenan-asia.org/th/covid-19-education-impact/

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2563). การออกแบบการเรียนรู้ใน New Normal. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2565). ค่านิยม “Next Normal” ลดเสี่ยงโควิด-19. เข้าถึงได้จาก https://www.nationalhealth.or.th/th/node/3011

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2565). Digital Transformation จาก New Normal สู่ Next Normal. เข้าถึงได้จาก https://www.depa.or.th/th/article-view/ digital-transformation-new-normal-next-normal

สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน: การเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริม ความรู้ของผู้เรียนในโลกแห่งความจริง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 251-263.

สุสัณหา ยิ้มแย้ม. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารพยาบาลสาร, 42(พิเศษ), 129-140.

Mahavijit. (2017). Application on Phenomenon-based Learning and Active Learning in elementary education course to enhance 21st century learning skills. Journal of Education Khon Kaen University, 42(2), 73 - 90.

McKinsey. (2021). The Next Normal. Retrieved from https:/ /www.mckinsey.com/featured-insights/the-next-normal

Mishra, P. & Koehler, M. J. (2006). Technological Pedagogical Content Knowledge: A new framework for teacher knowledge. Teachers College Record, 108(6), 1017-1054.

Mission to the Moon. (2565). ก้าวผ่านจาก New Normal สู่ “Next Normal” ด้วย 4 เทรนด์หลักหลังยุคโควิด-19. เข้าถึงได้จาก https://missiontothemoon.co/ softskill-new-normal-to-next-normal/

Shulman, L. S. (1987). Knowledge and teaching: Foundations of the new reform. Harvard Educational Review, 57(1) 1-22.

Tissington, S. (2019). Learning with and through phenomena: An explainer on phenomenon-based learning. Paper presented at the Association of Learning Developers in Higher Education Northern Symposium, Middlesbrough UK.