เกราะคุ้มกันทางธุรกิจกับการพัฒนาแบรนด์สินค้า
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันนี้หลายธุรกิจประสบปัญหาเรื่องการถูกละเมิดเครื่องหมายการค้า เมื่อถูกละเมิดเครื่องหมายการค้าส่งผลให้เจ้าของธุรกิจได้ผลกำไรจากการจำหน่ายสินค้า ภาพลักษณ์ของสินค้าหรือค่านิยมทางการค้า ลดลง หากเจ้าของเครื่องหมายการค้าประสงค์จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายควรจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ส่วนผู้ที่ปลอมหรือเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นจะต้องรับผิดตามกฎหมายทั้งทางแพ่งและทางอาญา แต่ทั้งนี้ หัวใจหลักสำคัญในการทำธุรกิจคือ การคุมคุณภาพของสินค้าและพัฒนาสินค้าของตนอย่างไม่หยุดนิ่ง ไม่ใช่เพียงแค่การรักษาแบรนด์เครื่องหมายการค้าเท่านั้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Kotler, Philip and Gary Armstrong.(2001).Principle of Marketing. 9th ed. New Jersey : prentice-hall, Inc., 2001.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564]. จาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A447/%A447-20-9999-update.pdf
วัฒนา มานะวิบูลย์. (2554). 100 สุดยอดไอเดียการสร้างแบรนด์. กรุงเทพ : เนชั่นบุคส์.
ไชยยศ เหมะรัชตะ. (2562) ลักษณะของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพ : นิติธรรม.
สุจิต ปัญญาพฤกษ์. (2554) หลักกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา. กรุงเทพ : ต้นไผ่.
จักรกฤษณ์ ควรพจน์. (2559) กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยลิขสิทธิ์สิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้า. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพ : นิติธรรม.
นิ่มนวล ผิวทองงาม. (2561). [ออนไลน์]. โจรขโมยแบรนด์! ฝันร้ายของผู้ประกอบการ. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3มีนาคม 2564]. จาก https://www.smethailandclub.com/marketing-2607-id.html
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. [ออนไลน์]. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564]. จาก https://www.krisdika.go.th/librarian/getfile?sysid=300167&ext=htm
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. [ออนไลน์]. ประมวลกฎหมายอาญา. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564]. จาก https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=443287&ext=pdf
สุรชัย ลีรุ่งเรือง, สัมภาษณ์, 3 มีนาคม 2564.