ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของผู้สำเร็จการศึกษา หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สถาบันการบินพลเรือน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของผู้สำเร็จการศึกษา หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สถาบันการบินพลเรือน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากประชากรคือ ผู้สำเร็จการศึกษา จากหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สถาบันการบินพลเรือน จำนวน 109 คน โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบหลายตัวแปร ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบซ้อน
จากผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของผู้สำเร็จการศึกษา หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สถาบันการบินพลเรือน ได้แก่ (1) ปัจจัยจากตัวผู้เรียน คือ ด้านแรงจูงใจและเจตคติ (X1) ด้านพฤติกรรมการเรียน (X2) (2) ปัจจัยด้านการจัดการเรียนการสอน คือ ด้านผู้สอน/วิทยากร/อาจารย์ที่ปรึกษา (วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ) (X3) ด้านกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ (X4) (3) ปัจจัยสนับสนุนจากภายนอก คือ ด้านการสนับสนุนจากครอบครัว (X6) ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน (X7) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยภาพรวม สามารถนำมาสร้างเป็นสมการพยากรณ์ได้ดังนี้
y = .47 + .29X1 + .26X2 + .17X3 + .20X4 - .12X6 + .26X7
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). [ออนไลน์]. นโยบายและยุทธศาสตร์ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563-2570. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2563]. จาก https: //www.mhesi.go.th/index.php/stg-policy/930-2563-2570.html.
นราธร ธรรมชูเวท. (2558). กลยุทธ์สร้างความเจริญเติบโตสู่ความยั่งยืนในการดำเนินธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา. สารนิพนธ์หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต. วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุพิชญ์กฤตา พักโพธิ์เย็น. (2560). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อาภรณ์ เชี่ยวชาญเกษตร. (2551). เหตุจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาของนักศึกษาปริญญาโท คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการอุดมศึกษา. มหาวิทยาลันศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันการบินพลเรือน. (2561). มคอ.2 หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการบิน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561). สถาบันการบินพลเรือน.
Hair, J. F., JR., Black, W. C., Babin, B. J., & Andersen, R. E., (2010). Multivariate Data Analysis : Global Edition (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall. 280.
อัญชลี อ่ำประสิทธิ์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ด้าน รหัสทางการแพทย์. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล. 7 (2), 62-73.
พิศุทธิ ภาเมธีกุล. (2562). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. Journal of Graduate School, Pitchayatat, Ubon Ratchathani Rajabhat University. 14(2), 113-120.
เฉลิมสิน สิงห์สนอง. (2559). การศึกษาปัจจัยด้านจิตพิสัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในระดับปริญญาโทของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ปีการศึกษา 2554. รายงานผลการวิจัย. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
รุจิราพรรณ คงช่วย. (2559). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
เสกสรรค์ ทองติ๊บ และนํ้าเงิน จันทรมณี. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนิสิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 33. 267-277
Boonk, L., Gijselaers, H., Ritzen, H., & Brand-Gruwel, S. (2018). A review of the relationship between parental involvement indicators and academic achievement, Educational Research Review. vol. 24. pp. 10-30.
Jou, R. C., Kuo, C. W., & Tang, M. L. (2013). A study of job stress and turnover tendency among air traffic controllers: The mediating effects of job satisfaction, Transportation Research Part E: Logistics and Transportation Review. vol. 57. pp. 95-104.
อัญชลี ทองเอมและไพทยา มีสัตย์. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์. 10(2). 205-221.
เดชดนัย จุ้ยชุม เกษรา บ่าวแช่มช้อย และศิริกัญญา แก่นทอง. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ทักษะการคิดของนักศึกษาในรายวิชาทักษะการคิด [thinking skills] รหัสวิชา 11-024-112 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม [active learning]. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 3 (2),47-57.
Osakede, U. A., Lawanson, A. O., & Sobowale, D. A. (2017). Entrepreneurial interest and academic performance in Nigeria: Evidence from undergraduate students in the University of Ibadan. Journal of Innovation and Entrepreneurship. vol. 6. pp. 19.
ชิดชนก แสงวิโรจน์ฤทธิ์. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนวิชาบัญชีของนิสิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
To-im, J., & Waichalad, U. (2020). The study of learning achievement of student-centered learning approach: Principle of Environmental Informatics Course. Silpakorn University Journal. 40(2),115-131.
วราภรณ์ พิมราช. (2560). ผลการจัดกิจกรรมเล่านิทานประกอบการอภิปรายที่มีต่อความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล. 3 (2), 167-175.
สุนทรี เข็มทอง. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนสังกดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. งานนิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา.