การเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของห่วงโซ่อุปทาน ของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

Main Article Content

ธนัชชา คงสง
พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบทียบข้อมูลทั่วไปตามขนาดบริษัทกับความสำเร็จในห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย จัดเก็บข้อมูลทางไปรษณีย์  ซึ่งประชากรเป็นบุคลากรระดับบริหารของบริษัทในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย จำนวน 2,410 บริษัท  จัดเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 320 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)  เพื่อเปรียบเทียบความสำเร็จของห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)  หากพบความแตกต่างเกิดขึ้นจะทำการเปรียบเทียบเชิงซ้อนด้วยวิธี Scheffe's  ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า ขนาดของบริษัทที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อความสำเร็จของห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ธนัชชา คงสง, คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

นักวิชาการศึกษา สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

References

สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). รายงานฉบับสมบูรณ์การวิเคราะห์ แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ.กรมทรัพย์สินทางปัญญา.กระทรวงพาณิชย์.

สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -2579). กระทรวงอุตสาหกรรม.

ศูนย์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (2564). [ออนไลน์]. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม.[สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2564] จาก https://eiu.thaieei.com/CommodityIndex.aspx.

กรไชย พรลภัสรชกร (2560). Competitor Accounting and Marketing Performance: An Empirical Investigation of Electronics and Electrical Appliance Businesses in Thailand. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.37(4),35-55.

วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญและเวทยา ใฝ่ใจดี (2019). การประเมินสมรรถนะบุคลากรซัพพลายเชน โดยใช้กรอบแนวคิดแบบ จำลอง SCOR กรณีศึกษาบริษัทมหาชนในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3(3),1-28.

การนิคมอุตสาหกรรม.(2560). เขตอุตสาหกรรมในประเทศไทย. กระทรวงอุตสาหกรรม.

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (2561). [ออนไลน์]. รายงานสถานการณ์เศรษฐกิจอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ,เดือนมีนาคม. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2560] จาก http://www.ieat.go.th.

สุวิมล ติรกานันท์ (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Likert, R., (1970). Likert technique for attitude measurement. In W. S. Sahakian (Ed.), Social psychology: Experimentation, theory, research (pp. 101-119). Scranton, PA: Intext Educational.

สุวิมล ติรกานันท์ (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสาหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, J., & Anderson, R.E., & Tathan, R.L. (2006). Multivariate data analysis (6ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

ธุรกิจ SMEs. (2563). [ออนไลน์]. การกำหนดลักษณะธุรกิจ SMEs. [สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564] จาก https://www.rd.go.th/publish/fileadmin/user_upload/porkor/taxused/SMEs.pdf.

ชวลิต จีนอนันต์ และนุชจรินทร์ อินต๊ะหล้า. (2559). นวัตกรรมแบบเปิดกับห่วงโซ่อุปทานในประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 8(3),1-9.