การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงาน ภาคอุตสาหกรรมการขนส่งและบริการในเขตภาคตะวันออกเพื่อรองรับ EEC

Main Article Content

พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา
วัฒนา พิลาจันทร์
ชนิศา หาญสมบุญ
ธนัชชา คงสง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กร
ของพนักงานภาคอุตสาหกรรมการขนส่งและบริการในเขตภาคตะวันออกเพื่อรองรับ EEC และ 2) ศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานภาคอุตสาหกรรมการขนส่งและบริการ
ในเขตภาคตะวันออกเพื่อรองรับ EEC เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) โดยวิจัยเชิงปริมาณ
ใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจำนวน 300 ชุดและวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์จำนวน 6 ราย  โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล


ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน
ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเป็นอยู่ของลักษณะงาน สภาพจิตใจในการทำงาน ผลตอบแทนที่ได้รับ และการบริหารงานภายในองค์กรที่มีต่อการทำงาน และ 2) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรได้ร้อยละ 42.50 อันเกิดจากองค์กรมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาปฏิบัติงาน
เกิดการยอมรับความคิดเห็นร่วมกัน มีความสามัคคีในหมู่คณะและมีความรู้สึกที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน หัวหน้างานจึงลดการลาออกจากงาน สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อความผูกพันขององค์การทั้งทางตรงและทางอ้อมได้อย่างมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

 

วัฒนา พิลาจันทร์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

 

ชนิศา หาญสมบุญ, การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ

 วิทยากร 6 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ

 

ธนัชชา คงสง, คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

นักวิชาการศึกษา สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

 

References

ภาพรวมอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ไทยกับการเตรียมพร้อม. (2564). [ออนไลน์]. [สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2564].จาก http://www.freightmaxad.com/magazine/?p=9711.

Mondy, R,W., R.M. Noe and S.R Premeaux. (1999). Human Resource Management. 7 thed. New Jersey: Upper Saddle River.

Dessler, Gary. (2008). Human Resource Management. 11 th. ed. New Jersey: Pearson Education, Inc. Upper Saddle River.

Allen, N. J. & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organizations. Journal of Occupational Psychology, 63, 1-8.

Comrey.A. L., & Lee, H. B. (1992). A first course in factor analysis. Hillsdale, NJ : Erlbaum.

สุวิมล ติรกานันท์ (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ (2549). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. พฤษภาคม, พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพมหานคร : ศรีอนันต์การพิมพ์.

สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Best, J.W. and Kahn, J.V. (2009). Research in Education. 16 thed. Newdelli : Prentice-hall.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, J., & Anderson, R.E., & Tathan, R.L. (2006). Multivariate data analysis (6ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall. Inc.1989

Jonsen, K., & Jehn, K. A. (2009). Using triangulation to validate themes in qualitative studies. Aualitative Research in Organizations and Management, 4(2), 123-150.

กรกนก เจริญสุข. (2560). การศึกษาความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท มิราเคิลเฮ็ลธ์แคร์ จำกัด และบริษัทในเครือ. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 12 ประจำปี 2560 วันที่ 14 ธันวาคม 2560.

รุ่งทิวา กรีวาส และ นัชฐภรณ์ อ่อนแก้ว. (2563). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์กรของ บุคลากรหอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 10:Library Transformation in a Disrupted World, 8-9 มกราคม 2563, สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ.

เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาคธุรกิจในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 6 (1),1-6.