ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของวิศวกรอุตสาหกรรมยานยนต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการอ่านและอุปสรรคของทักษะการอ่านของวิศวกรอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป ดำรงตำแหน่งอยู่ในระดับผู้จัดการ และผู้ช่วยผู้จัดการ ด้านความถี่การอ่านภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างเฉลี่ยวันละ 6-10 ครั้งๆ ประมาณ 15-20 นาทีขึ้นไป โดยอ่านภาษาอังกฤษจากสื่อต่างๆ ตามลำดับ ดังนี้ 1) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 2) คู่มือ และ 3) ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต จุดมุ่งหมายของการอ่านภาษาอังกฤษ คือ 1) เพื่อตอบสนองความต้องการอื่นๆ 2) เพื่อความรู้ และ 3) เพื่อให้เกิดความคิด อุปสรรคทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ พบว่า ไม่เข้าใจในอนุเฉท
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2557). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Muthaiyan, M and Kannayya, Kanchana. (2016). A study on developing reading skills of engineering students through WhatsApp as motivational strategy. International Journal of English Research. 2(3),1-4.
วิสาข์ จัติวัตร์. (2543). การสอนอ่านภาษาอังกฤษ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2530). การสอนทักษะภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชมัธยมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Tsai, Yea-Ru and Chang, Y. (2014). [Online] Enhancing engineering students’ reading comprehension of English for science and technology with the support of an online cumulative sentence analysis system. [Retrieved 10 July 2015]. From DOI:10.1177/2158244 014550610
Tinh, C. L. (2015). [Online] Needs analysis of English for mechanical engineering students in the Vietnamese context In TESOL Conference 2015. [Retrieved 10 July 2015]. From http:// www.vnseameo.org/TESOLConference2015/Materials/Fullpaper/Ms.%20Le%20 Cao%20Tinh.pdf
ประสบสุข หอมหวล และยุพิน กาญจนะศักดิ์. (2552). ความต้องการและการขาดแคลนแรงงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ในนิคมอุตสาหกรรมของประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 29(3), 67-83.
อานนท์ ไชยสุริยา. (2552). การใช้ภาษาอังกฤษของบุคลากรในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมีในภาคตะวันออกของประเทศไทย. ในการประชุมเวทีวิจัยมนุษย์กับสังคม 52 (น.149-162). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภัทรี รัตนมณฑ์. (2546). การใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานไทยต่อการปฏิบัติงานในบริษัทต่างชาติ: กรณีศึกษาบริษัท อีทีเอ (ประเทศไทย) จำกัด. ปัญหาพิเศษ-รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Mokhtari, K., and Sheorey, R. (2002). Measuring ESL students’ awareness of reading strategies. Journal of Developmental Education. 25(3), 2-10.
ฐมณฑ์ปวีร์ เพชรรัตน์. (2555). การสำรวจความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อประเมินตำราเรียนในการฝึกอบรมภาษาอังกฤษของพนักงานสายงานปิโตรเลียมนอกชายฝั่ง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ. คณะศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Bond, G. L. and Tinker, A. M. (1979). Reading difficulties: their diagnosis and correction. (4th ed). New York: Prentice-Hall, Inc.