ทางเลือกและปัญหาความเท่าเทียมทางเพศในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • ศุภรัตน์ ทวีเลิศวุฒิกุล สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • อาทิตยา เทวกุล ณ อยุธยา สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

การศึกษา, ความเท่าเทียมระหว่างเพศ, ความรุนแรงทางเพศ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันปัญหาความรุนแรงทางเพศนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากสังคมถูกครอบงำด้วยระบบชายเป็นใหญ่ (patriarchy) บทความนี้สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการทางสังคมที่ซับซ้อนในการจัดวางให้เป็นผู้หญิงเป็นผู้ที่อ่อนแอกว่า  เป็นชนชั้นสองในสังคม และกลายเป็นเหยื่อในความรุนแรงทางเพศอย่างไรก็ดีการลงโทษผู้ก่อความรุนแรงทางเพศหรือการข่มขืนโดยการประหารชีวิตตามกระแสที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จะไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างยั่งยืน หากแต่สังคมต้องหันมาให้ความสำคัญในการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุด้วยการให้การศึกษาเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศและเปลี่ยนทัศนคติของสมาชิกในสังคมเสียใหม่  เพื่อสร้างสังคมที่สงบสุขและเอื้ออาทรต่อกันอย่างแท้จริง

References

กมลพร กัลป์ยาณมิตร. (2557). ความเสมอภาคหญิงชายในระบบราชการไทย : ความแตกต่างหรือ ความเหมือนในการบริหาร,วารสารจันทรเกษมสาร. 20(38), 2-5.

ชพร อังศุวิฑูร. (2558). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของผู้หญิงเพื่อความเท่าเทียมทางเพศในบริบท สังคมไทย,วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์. 11(2),173-174

ปิยพร โกมุที. (2563). สิทธิและเสรีภาพในการสมรสของบุคคลเพศทางเลือก,13(4), 504-505

เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2558). การศึกษาเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม :ทางออกของความรุนแรงทางเพศ,วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก.33(1), 4

พิมลพร อินทนุพัฒน์ และสิริพันธ์ พลรบ.(2558). กระบวนการพิจารณาคําร้องและการระงับข้อพิพาท.ทางเลือกเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ ตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ,วารสารวิจัย. 4(3). 201-202

วรภัสสร พันธ์เกษม. (2562). การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย:ศึกษากรณีบุคคลถูกทำร้ายอย่างต่อเนื่อง,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์: 12(1), 166

ดร.สุขุมา อรุณจิต (2563). ความรุนแรงทางเพศ: บทสะท้อนความไม่เสมอภาคระหว่างเพศ: รายงานสืบเนื่องการสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ปีที่ 65 ,174-176

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30