การแสดงออกทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์ของพลเมืองยุคใหม่

ผู้แต่ง

  • อำนาจ อาจหาญ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

การแสดงออกทางการเมือง, สัญลักษณ์ทางการเมือง, รัฐบาล, การเมืองสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อมุ่งศึกษาเกี่ยวกับการแสดงออกทางการเมือง ของพลเมืองยุคที่มีการชุมนุมทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์โดยศึกษาจากการชุมนุมประท้วงรัฐบาลปีพุทธศักราช 2563 ที่มีการชุมนุมซึ่งใช้กลยุทธ์แบบใหม่ที่ไม่ค่อยเกิดขึ้นในสังคมการเมืองของไทย คือการชุมนุมแบบรวดเร็ว จบเร็ว ไม่ยืดเยื้อ มีการรวมกลุ่มของกลุ่มการเมืองต่าง ๆ อาทิ เยาวชนปลดแอก คณะราษฎร 2563 กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม ที่ตั้งขึ้นโดย นักเรียน นิสิตนักศึกษา โดยเรียกในบทความว่าคนรุ่นใหม่ และ การใช้สัญลักษณ์ทางการเมือง ตามภาพยนตร์ การใช้เพลงจากการ์ตูนมาดัดแปลง เพื่อสร้างบรรยากาศการชุมนุมและเสียดสีรัฐบาลการประดิษฐ์คำศัพท์ใหม่เพื่อใช้เรียกในกลุ่มคนรุ่นใหม่เพื่อใช้ในการเข้าร่วมชุมนุม

References

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2550). รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีความรุนแรงอันเนื่องมาจากโครงการท่อส่งก๊าซไทย-มาเลเซีย 2547. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

นรนิติเศรษฐบุตร, สมคิดเลิศไพฑูรย์และสายทิพย์สุคติพันธ์ . 2541. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนา ประชาธิปไตย : องค์การบริหารส่วนตำบล.กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การมีส่วนร่วมในทางการเมืองของประชาชนในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับความเป็นประชาธิปไตยทางตรง. วารสารกฎหมายปกครอง (สิงหาคม 2541) : 57 - 81.

ยรรยง ผิวผ่อง และ ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ(2558)การจัดการชุมนุมทางการเมือง.วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศิระชัย โชติรัตน์ สถานภาพและแนวโน้มการชุมนุมเรียกร้องของราษฎรและกลุ่มมีพลัง , 2540 เอกสารวิจัยส่วนบุคคล หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 .

อภิญญา รัตนมงคลมาศ.กลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มกดดัน ; เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและ กระบวนทางการเมืองไทย.หน้า 192-195 (2557)

Jakubowski, P. 1973. An Introduction to Assertive Training Procedures for Woman.Washing, D.C.: American Personal and Guidance Association.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30