การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย : แนวคิด หลักการและรูปแบบการส่งเสริม

ผู้แต่ง

  • โชคนรินทร์ บัวบาน วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • จรัณ หนักแน่น วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมทางการเมือง, แนวคิดทางการเมือง, การเมืองภาคประชาชน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย ภายใต้แนวคิดหลักการและรูปแบบการส่งเสริม โดยพบว่าการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนผ่านแนวคิด หลักการ และรูปแบบการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย ถือว่าเป็นการกระจายอำนาจให้ประชาชนในการปกครองหรือบริหาร รวมถึงเป็นการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา ทั้งระดับประเทศและชุมชนในการแก้ไขปัญหา
เพื่อจัดสรรทรัพยากรในประเทศและชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชนถือเป็นกลไกที่สำคัญเปรียบเสมือนหัวใจในระบอบประชาธิปไตยที่จะช่วยในการพัฒนาประชาธิปไตยให้เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

References

คะนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. (2545). แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540: ปัญหาอุปสรรคและทางออก. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดาเพลส.

จาดุร อภิชาตบุตร. หลักประชาธิปไตย, การมีส่วนร่วมของประชาชน : วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ

เจมส์ แอล เครย์ตัน. (2551). วันชัย วัฒนศัพท์ และคณะ, แปล. คู่มือการมีส่วนร่วม ของประชาชน การตัดสินใจที่ดีกว่าโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท.

ชุติมันต์ สะสอง เเละคณะ. (2563). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2552). พลวัตการมีส่วนร่วมของประชาชน: จากอดีตจนถึงรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพมหานคร: เอ.พี.กราฟฟิก ดีไซน์และการพิมพ์.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และคณะ. รายงานการศึกษา เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชน ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ.พี.กราฟฟิกดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด, 2554.

มงคลเลิศ ด่านธานินทร์. (2551). หลักคิดชาตินิยมและมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนา สังคมทันสมัย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์.

มงคลเลิศ ด่านธานินทร์. (2551). หลักคิดชาตินิยมและมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาสังคมทันสมัย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์.

วัชรา ไชยสาร. (2545). การมีส่วนร่วมในทางการเมืองกับการเมืองภาคประชาชน. รัฐสภาสาร. 53 (5), 44-100.

วินิจ ผาเจริญ. (2562). การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการพื้นที่ป่าบ้านห้วยฮี้ ตำบลห้วยปูลิง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ. 4 (2), 137-150.

สถาบันพระปกเกล้า. (2544). แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2544). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). การเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี 2540 ปี2550 และรัฐธรรมนูญปี 2560. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2560). การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการเลือกตั้ง.กรุงเทพฯ : ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30