ความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยกับการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์และดิจิทัล
คำสำคัญ:
พลเมือง, ประชาธิปไตย, สื่อออนไลน์บทคัดย่อ
บทความนี้ เป็นการนำเสนอเพื่อชี้ให้เห็นถึงความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยในยุคดิจิทัล โดยวิเคราะห์เอกสารจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ทั้งบทความ งานวิชาการ งานวิจัย ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรง การรู้เท่าทันเกี่ยวกับสื่อออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ซึ่งการตระหนักในความเป็นพลเมืองดิจิทัลมีความสำคัญอย่างมากในยุคของการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย เนื่องจากพลเมืองเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศไทย พลเมืองดิจิทัลมีการเสพสื่อสังคมออนไลน์กันอย่างมากและใช้อย่างหลากหลาย สื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นสื่อที่เป็นอิทธิพลอย่างมากโดยมีผลในด้านที่ดีและด้านที่เป็นความเสี่ยงต่อพลเมือง จึงทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมในการเสพสื่อออนไลน์ ในส่วนของการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลให้เหมาะสมกับสังคมไทยนั้น ต้องอาศัยการปรับตัวและรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในยุคใหม่
References
นิตยา วงศ์ใหญ่. (30 พฤษภาคม 2560). แนวทางการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของดิจิทัลเนทีฟ. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/
นุดี หนูไพโรจน์ และ ชวพร ธรรมนิตยกุล. (6 ธันวาคม 2562).ตัวบ่งชี้การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยระดับมัธยมศึกษา. สืบค้นจาก https://so06.tcithaijo.org/index.php/jca/article/view/245437/166320
ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช. (12 ตุลาคม2563). การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลของนักศึกษานิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. สืบค้นจากhttps://so04.tcithaijo.org/index.php/JLPRU/article/view/242368/17141
ปัทมาภรณ์ สุขสมโสดและปฐมพงษ์ พุ่มพฤกษ. (28 มกราคม 2564). ผลกระทบของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อการเปลี่ยนแปลงค่านิยมวัยรุ่นในพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นจาก file:///C:/Users/TaNaPEACH/Downloads/248540.pdf
เมธาวี จำเนียร และ กรกฎ จำเนียร. (2061). ประโยชน์ ปัญหา และแนวทางแก้ไขการใช้สื่อออนไลน์ในการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพของโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้นจากhttps://so05.tcithaijo.org/index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/153350/11175
สุภิญญา กลางณรงค์ และณภัทร เรืองนภากุล. (18 เมษายน 2564). ความเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลกับการรับมือด้านมืดออนไลน์ในวิถีปรกติใหม่. สืบค้น จาก https://blog.cofact.org/digitalcitizen/
วรลักษณ์ สงวนแก้ว. (31 สิงหาคม 2558). พลเมืองดิจิทัล. สืบค้นจากhttps://www.stou.ac.th/study/sumrit/159(500)/page2-1-59(500).html
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารสันติสุขปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.