พุทธวิธีสร้างพลัง “บวร” สันติสุขในสังคมไทย
คำสำคัญ:
พุทธวิธี, บ้าน วัด โรงเรียน, สันติสุขบทคัดย่อ
บ้าน วัด โรงเรียน “บวร” เป็นองค์กรหลักหรือหน่วยกลางในการทำหน้าที่เชื่อมความสัมพันธ์ พัฒนา ตัดสินใจ แก้ปัญหา พลังบวรเป็นแหล่งที่ปลูกฝังคุณธรรม แนวคิด วิธีคิด คุณค่า ให้คนที่อยู่ร่วมกันมีความเอื้ออาทรเกื้อกูลและนำไปสู่สมานฉันท์ภายในท้องถิ่น เพราะเหตุนี้ รากฐานสำคัญ “บวร” ที่จะนำมาซึ่งความสมานฉันท์ การสร้างความสงบสุขให้เกิดขึ้นในสังคมได้นั้นต้องมีองค์ประกอบ 9 ประการดังนี้ 1. ผู้นำบวร 2.คุณธรรม จริยธรรม 3.จิตสาธารณะหรือจิตอาสา 4. การมีส่วนร่วมหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 5. บูรณาการพหุปัญญา 6. เศรษฐกิจพอเพียง 7. หลักธรรมาภิบาล 8. การบูรณาการสร้างสรรค์เชิงภูมิปัญญาท้องถิ่น 9. เทคโนโลยีสารสนเทศหรือสื่อการเรียนรู้ด้านดิจิทัล
References
กันยารัตน์ แย้มศรีแก้ว. (2558). การบริหารจัดการความร่วมมือของ บ้าน วัด โรงเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คมสันติ์ จันทร์อ่อน. (2562). บวร: บ้าน, วัด, โรงเรียน สังคมแห่งการเกื้อกูล. Retrieved from http://prachatai.org/journal/2015/12/62826
ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ ด่านสุทธาการพิมพ์จำกัด
นพวรรณ พงษ์เจริญ. (2562). กระบวนการประชาสังคม บ้าน วัด โรงเรียน “บวร”. Retrieved from https://www.gotoknow.org/posts/365266
ธนพรรณ ธานี. (2545). การศึกษาชุมชน.ขอนแก่น : ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
พระไพศาล วิสาโล. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการจัดการความดี ศึกษากรณีมูลนิธิพุทธฉือจี้. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จํากัด
พระเทพเวที (ประยุทธ์ปยุตฺโต). (2532). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2541). การศึกษา : เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). ธรรมนูญชีวิต: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: กรมการปกครอง.
พระธรรมปิฎก (ป.ปยุตฺโต). (2550). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันลือธรรม.
ภูวณัฐสร์ หนูมาก. (2549). กระบวนการมีส่วนร่วมของบ้าน วัด โรงเรียน (บวร) ต่อการพัฒนาโรงเรียนวิถีพุทธ. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรวัฒน์ แก้วเก่า, มณฑา จำปาเหลือง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่ของบ้าน วัด โรงเรียน กับคุณลักษณะผู้เรียนตามหลักไตรสิกขาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบุรี เขต 1. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 7 (2), 826-839
สาโรช บัวศรี. (2549). การศึกษาและจริยธรรม. กรุงเทพฯ กริดส์ ดีไซน์ แอนด์ คอมมูนิเคชั่น.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2535). การจัดการเรียนรู้แบบเผชิญสถานการณ์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกด.
อริยา พรหมสุภา. (2559). "บวร" บ้าน วัด โรงเรียน องค์กรแห่งการเรียนรู้ในชุมชน : ชุมชนโป่งคา จังหวัดน่าน และชุมชนแจ่มหลวง จังหวัดเชียงใหม่, กองแผนงานมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Phrathep Wethi ( ป.อ.ปยุตโต, 1989) ka nphatthana tonʻe ng Their own development ( wepsai ) læ ng ma c ha k http://theirowndevelopment.blogspot.com/songphansipsam/chet/blog-post%8604.sưpkhonmưawanthisongkrakatakhomsongphanharoihoksipʻet
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารสันติสุขปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.