ประสิทธิผลระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานอัยการจังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

มณีรัตน์ สุขกระชอน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ในการวิจัย (1) เพื่อประเมินระดับประสิทธิผลระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานอัยการจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจในการทำงานและประสิทธิผล การวิจัยเป็นเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง 119 คน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม สถิติใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าความแปรปรวนแบบทางเดียว และค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย (1) ด้านระดับประสิทธิผล พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (2) ด้านการเปรียบเทียบประสิทธิผลจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ระดับการศึกษา และตำแหน่งงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลแตกต่างกัน และ (3) ด้านความสัมพันธ์ พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับค่อนข้างสูง

Article Details

บท
Research article

References

บุณยวีย์ ดิษฐ์คำเหมาะ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานธุรการของบุคลากรสำนักงานอัยการสูงสุด. (การศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตและรัฐประศาสนศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต).วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, นครปฐม.

ประภาพร ชั้นงาม. (2559). ความคาดหวังและความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีผลต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการบัญชี. (การศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, นครปฐม.

พัชรินทร์ โต๊ะบุรินทร์. (2548). ปัจจัยองค์การที่ส่งผลต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร . มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.

ยุทธนา ทาตายุ. (2543). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการผลิต กรณีศึกษากองการผลิต บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทยจำกัด. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพมหานคร.

เยาวลักษณ์ พิมพ์เทพ. (2559). ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานงานสารบรรณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตพื้นที่อำเภอท่าชนะ ไชยา ท่าฉาง และวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). (รัฐประศาสนศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สมคิด บางโม. (2547). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัทจูนพับลิซซิ่ง จำกัด

Best, J. W. (1978). Research in Education Englewood Cliffs. New Jersy : Prentice Hall.

Gibson, et al,. (1979). Organizational Behavior Structure Process Behavior Dallas.

Taxas : Business Publication, Inc.

Herzberg, F. & Other. (1966). The motivation to work. New York: John Wiley & Sons. Likert.

(1961). New Patterns of Management. New York: McGraw-Hill.

Tan Teck-Hong & Amna Waheed. (2011). Herzberg’s motivation-hygiene theory and job satisfaction in the Malaysian retail sector: The mediating effect of love money. Asian Academy of Management Journal, 1(16), 73-94.