ภาวะผู้นำแบบยืดหยุ่นของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แนวคิดภาวะผู้นำแบบยืดหยุ่นของ Olmo-Extremera, M et al. (2022) เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู จำนวน 365 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดของโรงเรียนเป็นชั้น (strata) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า
1. ภาวะผู้นำแบบยืดหยุ่นของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
2. ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อภาวะผู้นำแบบยืดหยุ่นของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน
3. ครูที่มีวิทยะฐานะและขนาดสถานศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อภาวะผู้นำแบบยืดหยุ่นของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กมลวรรณ จันทร. (2564). การบริหารสถานศึกษายุคโลกพลิกผันฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล.รายงานการประชุมวิชาการเสนอผล
งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ, 2(14), 1002-1009.
จิรกฤต ยศประสิทธิ์ และปทุมพร เปียถนอม. (2565). ภาวะผู้นำที่แท้จริงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 7(3), 255-267.
ดาราวดี บรรจงช่วย. (2560). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ในจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สุราษฎร์ธานี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปทุมพร เปียถนอม. (2563). ภาวะผู้นำทางการศึกษายุคการแทนที่ด้วยสิ่งใหม่กับทิศทางการศึกษาไทย.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 10(3), 115-123.
พรทิพย์ อันสีเมือง และสุภาวดี ลาภเจริญ. (2565). ภาวะผู้นำวิถีทางเป้าหมายของผู้บริหารสถานศึกษาตาม
ทัศนะของครู กลุ่มสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต 2. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(6), 312-328.
ภูวนาท คงแก้ว และคึกฤทธิ์ ศิลาลาย. (2564). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 2. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(4),
-97.
วิกานดา พิณแพทย์ และปทุมพร เปียถนอม. (2565). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาใน
โรงเรียนสหวิทยาเขตศรีบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วารสารนาคบุตร
ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช, 14(1), 54-64.
วิชุดา บุญเทียม และศิริพงษ์ เศาภายน. (2565). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
ตามความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2.
วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 8(1), 173-189.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2565). การบริหารวิชาการที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคพลิกผัน. กรุงเทพ:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล อินทะพุฒ และปทุมพร เปียถนอม. (2565). ภาวะผู้นำแบบผู้ให้บริการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22(2),
-151.
Dartey-Baah, K. (2015). Resilient leadership: A transformational-transactional leadership mix.
Journal of Global Responsibility.
Olmo-Extremera, M., Townsend, A., & Domingo Segovia, J. (2022). Resilient leadership in
principals: case studies of challenged schools in Spain. International Journal of
Leadership in Education.