ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ (1) เพื่อวิเคราะห์สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี (2) เพื่อวิเคราะห์คุณภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี และ (3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 317 คน ได้แก่ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัย (1) ด้านสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี อยู่ในระดับมาก (2) ด้านคุณภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี อยู่ในระดับมาก และ (3) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นนทบุรี พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กัน
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการก่อนเปิดภาคเรียน 1 กรกฎาคม 2563. เข้าถึงได้จาก: https://moe360.blog/2020/05/08/การเตรียมความพร้อม, 20 ตุลาคม 2564.
จรุณี เก้าเอี้ยน. (2556). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา : กลยุทธ์และแนวทำงกำรปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
จิรพรรณ หิรัญวรเสฎฐ์. (2555). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอำเภอเสริมงำม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษลำปาง เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ฐิฏรฐาว์ ศรีจันทร์เวียง. (2553). สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, อุดรธานี.
ธงชัย สันติวงษ์. (2555). การบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ประชุมการช่าง.
ประเสริฐ บุญเรือง. (2563). แนวทางการบริหารการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. เข้าถึงได้จาก: http://www.spm7.go.th, 20 ตุลาคม 2564.
ประจักษ์ ทรัพย์อุดม. (2550). แนวทางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท
พนิตา จันทรรัตน์. (2557). การศึกษาสมรรถนะหลักของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิษณุโลก.
พรศิริ บัวอุไร. (2554). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตำมทัศนะของบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, ลพบุรี.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิและวิบูลย์ โตวณะบุตร. (ม.ป.ป). หลักและทฤษฎีการบริหาร. สาขาวิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคำแหง.
มนูญ ร่มแก้ว. (2553). สภาพและปัญหาการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, ยะลา.
วรรณยุพา ต้นมณี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานบุคคลในเครือข่ายโรงเรียนที่ 20 สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, กรุงเทพ.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2551). การวิเคราะห์เปรียบเทียบความหมายของการบริหารการจัดการการบริหารการพัฒนาและการบริหารจัดการ. กรุงเทพ: บริษัท เอ็กซเปอรเน็ท จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). เครื่องมือส่งเสริมการขับเคลื่อนประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับผู้บริการสถานศึกษา). กรุงเทพฯ: กลุ่มพัฒนานโยบายด้านการเรียนรู้ สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้.
สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.
เสาวณี จันทะพงษ์. (2563). เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยหลังโควิด19: โรคปฏิวัติโลก ยกเครื่องสู่อนาคตวิถีชีวิตใหม่. เข้าถึงได้จาก: https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Documents/PhraSiam 0363/0363_CoverStory.pdf, 20 ตุลาคม 2564.
Arcaro, J. S. (1995). Quality in Education: An Implementation Handbook. New York: St. Lucie Press.
Boyatzis, R.E. (1996). The Competent Manager: A Theory of Effective Performance. New York: NY John Wiley & Sons.
Ratchakumaree, D. (2011). Competencies of administrators and quality assurance within the school Under the local government organization Local Education Group 1. Master of Education Thesis. Silpakorn University, Faculty of Education, Program in Educational
Administration, Nakhon Pathom.
Teera, R. (2014). Professional in management and administration Education reform era. Bangkok: Kho Fang. (In Thai)