นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนช่วยสอน เรื่อง คำอุทาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้โปรแกรม Animaker
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนช่วยสอน เรื่อง คำอุทาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้โปรแกรม Animaker 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม Animaker กับนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ เรื่อง คำอุทาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา จังหวัดสมุทรสาคร และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนช่วยสอน เรื่อง คำอุทาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้โปรแกรม Animaker เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่แผนการวัดการเรียนรู้บทเรียนช่วยสอน โดยใช้โปรแกรม Animaker แบบวัดผลสัมฤทธิ์แบบประเมินบทเรียนช่วยสอน และแบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม Animaker กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 64 คน ได้มาโดย วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์แบบเชิงเนื้อหาผลการศึกษาพบว่า (1) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนช่วยสอน โดยที่มีคุณภาพด้านเนื้อหามีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และด้านเทคโนโลยีทางการศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับดี (2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม Animaker กับนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติกับการสอนแบบปกติพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม Animaker สูงกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนช่วยสอนโดยใช้โปรแกรม Animaker พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนการสอนสื่อดิจิทัลด้วยการสอนบน Padlet วิชาภาษาไทยเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นไทย ชั้นประถมกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบางบอน (พิมพ์ จันแต้อุปถัมภ์. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 35(2), 102-120.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 3(1), 70-77.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกและเกมการศึกษารายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์, 4(2), 1-12.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบโมไบล์เลิร์นนิง เรื่อง แหล่โบราณสถานบริเวณเมืองเก่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีวิทยาโดยใช้โปรแกรมโลกเสมือนจริง (Metaverse). วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา, 15(1), 119-133.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในยุคไทยแลนด์ 4.0 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ วิชาศิลปะพื้นฐาน. วารสารครุทรรศน์, 3(1), 43-53.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การบริหารงานระบบไอซีทีเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทยเรื่อง นิราศภูเขาทอง ผ่านบทเรียนออนไลน์ Mobile Learning ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดตะพงนอกจังหวัดระยอง. วารสารครุศาสตร์ปัญญพัฒน์, 1(1), 1-16.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทักษะด้านดิจิทัล ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ในพื้นที่ชุมชน ของโรงเรียนวัดโพสพผลเจริญ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, 3(1), 1-13.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การจัดการเรียนการสอนผ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง “พุทธศาสนสุภาษิต” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดท่าคอย(สกุณอุปถัมภ์). วารสารวิชาการสังคมมนุษย์, 13(1), 84-99.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการเรียนรู้แบบ Unplugged Coding เรื่อง ท่องเที่ยวสวนสัตว์ ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านป่าพลู จังหวัดลำพูน. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 4(2), 73-83.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 3(2), 159-168.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์, 6(1), 19-34.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ วีรเทพ ชลทิชา วัชร์ธิดา ศิริวัฒน์และปรีญา ศรีจันทร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ(VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสำหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขงมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30(2), 25-38
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ชัชวนันท์ จันทรขุน จิรวดี เหลาอินทร์ พรทิพย์ คุณธรรมและมนัสชนก ยุวดี. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาช่วยสอนในวิชาภาษาไทยเรื่อง หลักการใช้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน (พูนราษฎร์อุปถัมภ์) อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 15(2), 49-63.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ทรงชัย ชิมชาติ หยาดพิรุณ แตงสี อมรเทพ สมคิด และชาญวิทย์ อิสรลาม. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต, 1(1), 47-58.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ จุฑารัตน์ นิรันดร ณัฐวุฒิ อัตตะสาระ ปิยพัทธ์ สุปุณณะ และจันทนา มุกดาศุภณัฏฐ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่อง การปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์, 5(2), 22-32.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์,อภิสิทธิ์ ทุริยานนท์ อรอนงค์ โพธิจักร,อพิเชษฐกิจเกษม เหมิและปวีณา จันทร์ไทย. (2565).นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E -Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 14(2), 28-42.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ แสงระวี จรัสน้อยศิริ สุรพล หิรัญพตและแก้วใจ พิชชามณฑ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาครชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ, 5(3), 28-40.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ชมภูนุช พัดตัน กาญมณี เพ็ชรมณี ณภาพัช ราโชกาญจน์และศุภชัยรวมกลา กอบการณ์อาจประจันทร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุก จังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์, 2(3), 41-52.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาลและพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564) . การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลรายวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ. วารสารศิลปะศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 4(2), 427-442.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2565). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 14(2), 80-106.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาบทเรียนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องการทำเครื่องปั้นดินเผาของชาวมอญเกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต, 1(1), 1-16.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุกจังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์, 2(3), 41-52.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ, 5(3), 28-40.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่อง การปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์, 5(2), 22-32.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัยจังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรงโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต, 1(1), 47-58.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 14(2), .28-42.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาสื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองขวางจังหวัดตราด. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 5(2), 26-38.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ(VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสำหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30(2), 25-38.
ดุษฎี โยเหลาและคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ : หจก. ทิพยวิสุทธิ์.
ธันยนันท์ ศรีพันธ์ลมและสิริภัค จิตติรัตนกุล. (2566). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาครูเคมีผ่านการเรียนแบบออนไลน์อย่างมีปฏิสัมพันธ์ในรายวิชาปฏิบัติการชีวเคมี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 18(2), 62-71
มัณฑนา นนท์ไชย. (2559). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่อง การร่างภาพจริงให้เป็นลายเส้นและออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยใช้ห้องเรียน ออนไลน์ Google Classroom สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน.กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี.ออนไลน์.
เอกนรินทร์ คงชุม ธนาดล สมบูรณ์ วีระ วงศ์สรรค์ และณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแกะสลักผักและผลไม้ลายกุหลาบ โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลมะนังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล เขต 1. วารสารวิจัยวิชาการ, 6(1), 79-90.